ต้นเสลดพังพอน ต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดมาจากชายฝั่งแอฟริกา

ต้นเสลดพังพอน

พืชสมุนไพร ที่สามารถพบได้ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ได้รับความนิยมในการเพาะปลูกเอาไว้เพื่อใช้รักษาโรค “ ต้นเสลดพังพอน ”

o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o

Admin มีพันธุ์ไม้ประดับมาฝาก แต่บอกเลยว่าไม่ได้แค่มีความสวยงามเอาไว้ปลูกประดับบ้านอย่างเดียว แต่ยังมีคุณประโยชน์มากมายอีกด้วย และได้รับความนิยมมาก ๆ ในการเอามาปลูกเอาไว้รักษาโรค กับพืชสมุนไพรชนิดนี้

โดยต้นนี้จัดได้ว่าเป็นพันธุ์ไม้พุ่ม ที่มีความสูงอยู่ที่ประมาณ 2 เมตร โดยจะมีลักษณะพิเศษ นั่นก็คือ จะมีลำต้นที่เป็นเปลือกสีม่วงอมเขียว และจะมีสีเขียวเข้มเป็นมัน โดยใบของเขาจะมีก้านสีแดงนั่นเอง และที่สำคัญ เขายังสามารถออกดอกเป็นช่อที่จะออกตามไปยอด โดยใบของเขาจะมีลักษณะของสีน้ำตาลอมม่วง โคนสีเขียว ที่สำคัญเลยยังมีดอกที่จะออกเป็นช่อตั้ง และขอบที่บริเวณปลายยอดของช่อนั้นเอง สามารถมองเห็นได้เลยว่าเขาหุ้มดอกเอาไว้ข้างใน ซึ่งเขาจะเรียงรายเป็นกระบอกสีเขียวเอาไว้เต็มเลยทีเดียว

นอกจากนี้ เขาก็ยังสามารถขยายพันธุ์ได้ถึง 2 วิธีเลยทีเดียว นั่นก็คือ การเพาะเมล็ดและการปักชำนั้นเอง แต่ในปัจจุบันได้รับความนิยมมาก ๆ โดยวิธีการปักชำ เพราะว่าสามารถเลือกย้ายลงไปปลูกในแปลงได้นั่นเอง

ต้นเสลดพังพอน4 - ต้นเสลดพังพอน ต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดมาจากชายฝั่งแอฟริกา
ต้นเสลดพังพอน

“ ต้นเสลดพังพอน ” พันธุ์ ไม้ประดับ ที่มีความสวยงาม และแปลกตาของต้น รวมถึงดอกที่สำคัญยังสามารถใช้เป็นยารักษาโรคได้

เรียกได้ว่าเป็นพรรณไม้ที่มีประโยชน์อีกหนึ่งชนิด ที่ควรค่าแก่การนำมาปลูกประดับตกแต่งสวนบริเวณบ้านมาก ๆ เลยทีเดียว กับเจ้าต้นนี้ โดยเขามีสรรพคุณช่วยแก้โรคเริมโรคงูสวัด และแก้ฝีที่ฝ่ามือได้ รวมไปถึงยังแก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย หรือแบบพกช้ำมีเลือดออกได้อีก

โดยเพื่อน ๆ สามารถใช้ใบสด เอานำมาตำให้ละเอียดแล้วผสมกับเหล้า จากนั้นต้องคั้นเอาน้ำดื่ม เรียกได้ว่าสามารถช่วยบรรเทาอาการต่าง ๆ ได้ดีเลยทีเดียว ส่วนที่เหลือก็สามารถเอามานำมาทาแก้รักษาอาการลมพิษ หรือแก้เม็ดผื่นคันตามบริเวณผิวหนังได้อีกด้วย เรียกได้ว่ามีคุณประโยชน์มากขนาดนี้ ควรค่าแก่การปลูกมาก

o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o

c r e d i t : แทงบอล

o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o