ต้นดาวอินคา ได้รับความนิยมในการนำมาปลูกส่งออกและแปรรูปเป็นขนม

ต้นดาวอินคา

พันธุ์ไม้ที่ได้รับความนิยม ในการนำเข้ามาเพาะปลูกเป็น พืชทางเศรษฐกิจ ที่จังหวัดหนองคาย “ ต้นดาวอินคา ”

มารู้จักกับพันธุ์ไม้อีกหนึ่งชนิดที่หลาย ๆ คนนั้นอาจจะเคยเห็น หรือเคยรับประทานตอนที่เป็นอาหารแปรรูป แต่ว่าอาจจะยังไม่เคยเห็นลำต้น หรือไม่เคยเห็นผลผลิตของเขา ที่เรียกได้ว่ากำลังได้รับความนิยมในการรับประทานมาก ๆ เลยทีเดียว

โดยพืชชนิดนี้จัดได้ว่าเป็นพันธุ์ไม้เลื้อย โดยเขามีลำต้นที่เป็นไม้เลื้อยที่มีอายุนานถึง 50 ปีเลยทีเดียว และเขาสามารถเลื้อยได้ยาวกว่า 2 เมตรเลยทีเดียว โดยใบของเขาจะเป็นพืชใบเลี้ยงคู่ และจะแตกออกเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกันตามความยาวของเถานั้นเอง และที่สำคัญเลย คือเขาจะออกดอกเป็นช่อตามบริเวณซอกใบบนเขา ซึ่งแต่ละช่อ ก็จะมีดอกขนาดเล็กเป็นจำนวนมากอยู่ภายในนั้นเองค่ะ

จากนั้นหลังปลอดประมาณ 4 เดือน ก็จะสามารถให้ผลผลิต โดยผลของเขาจะออกมาลักษณะเป็นที่มีลักษณะคล้าย ๆ กับแคปซูลโดยจะแบ่งออกเป็นแฉก 4 แฉก ซึ่งเปลือกของผลอ่อนก็จะมีลักษณะเป็นสีเขียวสด แต่เมื่อแก่แล้วก็จะมีการเปลี่ยนสีเป็นสีดำ จากนั้นก็จะสามารถเก็บผลผลิตได้ โดยภายในก็จะมีผลหรือมีฝักที่จะสามารถนำมาขั้วให้กรอบให้สุข ขอบอกเลยว่ามีรสชาติมัน และอร่อยมาก ๆ เลย

ต้นดาวอินคา3 - ต้นดาวอินคา ได้รับความนิยมในการนำมาปลูกส่งออกและแปรรูปเป็นขนม
ต้นดาวอินคา

“ ต้นดาวอินคา ” พันธุ์ไม้ที่ได้รับความนิยมในการนำมาปลูกเป็นพืชเศรษฐกิจ เพื่อนำไปแปรรูปเป็นอาหารต่าง ๆ ได้มากมาย

เรียกได้ว่าหลายๆคนนั้นอาจจะยังไม่เคยเห็น กับต้นนี้ หรือไม่เคยคุ้นชื่อกับพันธุ์ไม้ชนิดนี้ แต่ขอบอกเลยว่าเป็นพันธุ์ไม้ทางเศรษฐกิจที่กำลังมาแรงมาก ๆ เลย เพราะว่าในปัจจุบันได้รับการแปรรูปให้เป็นผลิตภัณฑ์อาหารต่าง ๆ มากมายเลยทีเดียว ไม่ว่าจะเป็นซอส ซีอิ๊ว หรือว่านำไปแปรรูปเป็นแป้งต่าง ๆ รวมไปถึงยังสามารถนำไปสกัดเป็นน้ำมันเพื่อเอามารับประทานเป็นอาหารเสริมให้แก่ร่างกายอีกด้วย

ที่สำคัญเพียงสามารถนำไปใช้เป็นส่วนผสมสำคัญภายในเครื่องสำอาง อย่างเช่น โฟมล้างหน้า สบู่ หรือน้ำหอม หรือครีมบำรุงผิวก็ได้อีกด้วย ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งเลย เขามีสรรพคุณสรรพคุณในการช่วยลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และโรคมะเร็ง รวมไปถึงป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอีกด้วย

o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o

c r e d i t : ufa877

o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o