ต้นขี้เหล็ก พืชพื้นบ้านที่พบอยู่ตามธรรมชาติทั่วประเทศไทย

ต้นขี้เหล็ก

ต้นไม้ที่ได้รับความนิยมในการนำไปปลูกเป็น ไม้ประดับ และนำไปประกอบอาหารชนิดต่าง ๆ ทั้งภาคอีสาน “ ต้นขี้เหล็ก”

วันนี้ Admin ก็มีพันธุ์ไม้ดี ๆ มาฝากเพื่อน ๆ กันอีกเช่นเคย กับพันธุ์ไม้ชนิดนี้เลย ซึ่งหลาย ๆ คน รวมถึงชาวไทยที่มีเชื้อสายเป็นชาวอีสาน ขอบอกเลยว่าต่างหู และเคยเห็นต้นนี้กันแน่นอนเลย เพราะว่าเจ้าต้นนี้ เรียกได้ว่าเป็นพรรณไม้ที่ได้รับความนิยมในการนำมาประกอบอาหารมาก ๆ เลยทีเดียว แต่ที่แน่ ๆ พันธุ์ไม้ชนิดนี้นอกจากจะนำมารับประทานได้แล้วเขายังสามารถนำไปปลูกเพื่อประดับตกแต่งสวนเพื่อเพิ่มความสวยงามให้กับสวนได้เป็นอย่างดีอีกด้วย

ซึ่งได้รับความนิยมในการเพาะปลูกมาก ๆ ในต่างประเทศ โดยลักษณะของเขา ลำต้นของต้นขี้เหล็กจะเป็นพันธุ์ไม้ขนาดกลาง มีลำต้นจะสูงเต็มที่ประมาณ 25 เมตร ดยลำต้นจะไม่เป็นวงกลม และมักจะบิดงอ โดยลำต้นของเขาจะแตกกิ่งก้านเป็นจำนวนมากเป็นทรงพุ่มใหญ่นั้นเอง ส่วนใบขี้เหล็กก็จะประกอบกันเป็นแบบชนนกชนิดใบคู่ ซึ่งใบอ่อนหรือยอดอ่อนจะมีลักษณะเป็นสีแดง ส่วนใบแก่แล้วก็จะมีสีเขียวสดนั่นเอง โดยใบก็ไม่มีขนเมื่อใบอ่อนแตกแล้วก็จะสามารถเก็บยอดอ่อนมารับประทานอาหารได้ หรือว่าจะเก็บใบแก่ในช่วงฤดูฝนมาทำอาหารไปนั่นเอง

ต้นขี้เหล็ก3 - ต้นขี้เหล็ก พืชพื้นบ้านที่พบอยู่ตามธรรมชาติทั่วประเทศไทย
ต้นขี้เหล็ก

“ ต้นขี้เหล็ก ” พันธุ์ไม้ที่สามารถเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดีทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ทนทานต่อสภาพอากาศที่ร้อนจัดได้เป็นอย่างดี

เรียกได้ว่าเป็นพันธุ์ไม้อีกหนึ่งชนิด ที่ชาวไทยเรานิยมนำมาบริโภค และนำมารับประทาน ที่สำคัญก็ยังสามารถพบเห็นได้ทั่วไปทุกภูมิภาคของประเทศไทยเลยทีเดียว โดยที่ต่างประเทศได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ในการนำไปใช้เพื่อเป็นไม้ประดับ เพราะว่ามีความสวยงามของใบนั้นเอง

นอกจากนี้เขายังมีคุณประโยชน์ ในการช่วยรักษาอาการท้องผูก รวมไปถึงยังแก้อาการนอนไม่หลับ หรือนำใบแห้งมาใช้ต้มเอาน้ำมาดื่มก่อนนอนเพื่อแก้อาการเบื่ออาหารก็ได้อีกด้วย ที่สำคัญเจ้าต้นนี้ก็ยังสามารถนำมาช่วยรักษาอาการรังแคบนหนังศีรษะได้ หรือจะใช้นำไปประคบแผลบริเวณที่ถูกต่อยหรืออักเสบได้อีกด้วย จึงเรียกได้ว่าเป็นพันธุ์ไม้อีกหนึ่งชนิดที่มีคุณประโยชน์สูงเลยทีเดียว

o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o

บทความน่ารู้ เสือมังกร

o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o